วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

(Part4: End ) PA601: ทฤษฏีและแนวคิดด้านการเงินการคลังสาธารณะ โดย รศ.ดร.ภิรมย์ จั่นถาวร

--------------------------------------------------------
25. หลักการบริหารรายจ่ายภาครัฐ > หลักทฤษฏีงบประมาณ
--------------------------------------------------------
o ทฤษฏีเน้นการวางแผน
o ทฤษฏีเน้นการบริหาร
o ทฤษฏีเน้นการควบคุมและต่อรองทางการเมือง

--------------------------------------------------------
26. หลักวินัยทางการคลัง > เน้นการสร้างกลไกเพื่อสามารถรักษาวินัยทางการคลัง
--------------------------------------------------------
27. หลักการจัดสรรงบประมาณ > พิจารณาลำดับความสำคัญของการใช้จ่าย
--------------------------------------------------------
28. รายได้ภาครัฐ
--------------------------------------------------------
o เป็นเครื่องมือการบริหารเศรษฐกิจมหภาค
o กระบวนการเพื่อการใช้จ่ายบริการสาธารณะ
o แหล่งของรายได้
> ภาษี และมิใช่ภาษี
- ภาษีได้แก่ ภาษีรายได้บุคคล ภาษีรายได้นิติบุคคล
- มิใช่ภาษี ได้แก่ ค่าธรรมเนียม สัมปทาน ค่าปรับ ใบอนุญาต

--------------------------------------------------------
29. หลักการจัดเก็บภาษีที่ดี
--------------------------------------------------------
o หลักการทำรายได้
o หลักการยอมรับของประชาชน
o หลักความเป็นธรรม
o หลักความเป็นกลาง
o หลักประสิทธิภาพในการจัดเก็บ

--------------------------------------------------------
30. หลักการทำรายได้
--------------------------------------------------------
o ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
o ภาษีเงินได้นิติบุคคล
o ภาษีการค้าหรือ VAT
o ภาษีสรรพสามิต
o ภาษีทรัพย์สิน

--------------------------------------------------------
31. หลักการยอมรับของประชาชน(ผู้เสีย)
--------------------------------------------------------
o ผ่านสถาบันประชาธิปไตย เช่น ผู้แทน ส.ส. ส.ว.
o ยึดหลักความเป็นธรรม ในการช่วยแบกรับภาษีอย่างเสมอภาค

--------------------------------------------------------
32. หลักความเป็นธรรม
--------------------------------------------------------
o Ability
o คนมีความสามารถมาก เสียมากกว่าคนมีความสามารถน้อย
o การแจกแจงกลุ่มคนในสังคม และภาระของภาษี

--------------------------------------------------------
33. หลักความเป็นกลาง
--------------------------------------------------------
o การเก็บภาษีต้องไม่ก่อให้เกิด Market Distortion
o ในแต่ละภาคส่วน ต้องไม่ได้รับผลกระทบ และเสียเปรียบ

--------------------------------------------------------
34. หลักประสิทธิภาพในการจัดเก็บ
--------------------------------------------------------
o ต้นทุนการจัดเก็บต้องน้อยที่สุด
o จัดเก็บสม่ำเสมอ
o การประมาณการภาษีล่วงหน้า
o การเสียภาษีกระทำได้ง่าย
o การจัดการเก็บมีความเป็นไปได้และมีประสิทธิภาพ

--------------------------------------------------------
35. กระบวนการทางการเมืองในการกำหนดนโยบายภาษีอากร
ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ การกู้เงิน เพื่อใช้ในการจัดบริการสาธารณะ
--------------------------------------------------------
o Participatory democracy Wicksell หลักความเต็มใจ Willingness
o Representative Democracy vote right

--------------------------------------------------------
36. ปรากฏการณ์ต่อต้านการเสียภาษี (tax revolt)
--------------------------------------------------------
o กรณีความไม่พอใจที่คนกลุ่มน้อยเป็นผู้เสียภาษีรายใหญ่
o กรณีรัฐบาลบริหารรายจ่ายผิดพลาด เช่นการบริหารหนี้มากเกินไป
o กรณีรัฐบาลบริหารรายได้ผิดพลาด เช่นการประเมินภาษี

--------------------------------------------------------
37. การกำหนด”ราคา” บริการสาธารณะ
--------------------------------------------------------
• เงื่อนไขคือ บริการนั้นต้องมีทางเลือกแก่ประชาชน
• ไม่มีการผูกขาดการผลิตบริการ
• ไม่มีการก่อเงื่อนไขการผูกขาด
• การกำหนดราคาใช้หลักการ marginal cost price

--------------------------------------------------------
38. หลักว่าด้วยการกู้เงินและการลงทุนภาครัฐ
--------------------------------------------------------
• ลงทุนพัฒนาศักยภาพการผลิตให้มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ
• การกู้เงินเพื่อทำโครงการใหญ่ ๆ ต้องไม่เพิ่มภาษีให้แก่ประชาชนในอนาคตมากเกินพอดี

-------------------------------------------------------- (End of Part 4 : The End)
Tai

อ่านวิชาการ รป.ม. ทั้งหมด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น